Home ข้อคิดสอนใจ 9 วิธีแก้นิสัย “คนขี้หลงขี้ลืม”

9 วิธีแก้นิสัย “คนขี้หลงขี้ลืม”

11 second read
0
0
46

เพื่อนๆ เคยเป็นกันหรือไม่? กับอาการ ‘ขี้หลงขี้ลืม’ บางครั้งถ้าเรารู้ตัวว่าเป็นคนขี้ลืมเราก็ต้องเริ่มหาวิธีจัดการกับตัวเอง

และที่สำคัญต้องกินอ า ห า รที่ช่วยพัฒนาทางด้านส ม อ งและเรื่องการจำด้วย

โดยเฉพาะเวลาสอบถ้าเราดูแลสุ ข ภ า พเราให้ดี รับรองว่าเรื่องอ่ า นหนังสือสอบ สบายชิวๆ เลย .. เรามาดู 9 วิธีแก้นิสัย

‘ขี้หลงขี้ลืม’ กันดีกว่า ก่อนที่เพื่อนๆ จะกลายเป็นอัลไซเมอร์นะ

1. เขียนบันทึก อ่ า นปุ๊บจำได้ปั๊บ

วิธีง่ายๆ ถ้ากลัวลืม การจดบันทึกเนี่ยแหละค่ะ จะเป็นตัวที่เตือนเราได้ดีที่สุด

ไม่ว่าจะกลัวเรื่องแพลนชีวิต นัดสำคัญ ไปจนถึง จดเบอร์โทรศัพท์, ที่อยู่เพื่อนฝูง, วันเกิด, ข้อมูลเกี่ยวกับโ ร คที่คุณเป็น

เป็นต้น ยิงถ้าเราได้จดทุกวันๆ ก็จะทำให้เกิดการจดจำเรื่องราวเหล่านี้ได้ดีขึ้น

แต่อย่าลืมพกสมุดบันทึกติดตัวไปด้วบ และอย่าทำหายเชียว

2. บอกกับตัวเองดังๆ

การพูดก็เหมือนกับจดบันทึก และที่ๆ ดีที่สุดที่จะพูดออกมาดังๆ ได้คือ ในห้องน้ำ

ย ามเช้าก่อนเริ่มออกจากบ้ าน บอกออกมาเลยว่าวันนี้ฉันต้องทำอะไร อย่างเช่น

“วันนี้ก่อนกลับบ้ าน ต้องแวะรับเสื้อ” แล้วพูดออกมาดังๆ ซ้ำๆ กันหลายๆ หน

ถ้าคิดว่ายังจำไม่ได้และเป็นกังวล ลองใช้แอพฯอัดเสียงบนสมาร์ทโฟน บันทึกคำพูดแทนก็ได้นะคะ

3. Post-it หรือ กระดาษโน้ต

เดี๋ยวนี้มีแผ่นโน้ตเล็กๆ ที่ติดไว้ที่ไหนก็ได้ขายอยู่ทั่วไป ขนาดก็เหมาะกับการพกพา

เวลาที่มีการนัดหมายหรือเวลาที่นึกขึ้นมาได้ว่าต้องทำอะไรในวันที่ยังมาไม่ถึง

ให้เขียนสิ่งที่จะทำลงบนกระดาษโน้ต แปะไว้ในที่ๆ คุณต้องเห็นเป็นประจำ

เช่นที่ประตูตู้เย็นในครัว, บอร์ดช่วยจำที่ติดไว้ตรงทางเดินก่อนออกจากบ้ าน หรือในรถ

หรือถ้าหากมีการไล่สีระดับความสำคัญได้ด้วยก็จะดีมากค่ะ เช่นใบสีแดง เป็นสิ่งที่ต้องทำด่วนมาก ห้ามลืม!! เป็นต้น

4. เก็บข้าวของให้เป็นที่

เก็บของให้เป็นที่ในที่ที่ควรจะเป็น เช่น เก็บย าที่ต้องกินก่อนนอนไว้ที่โต๊ะข้างเตียง,

ข้างขวดน้ำดื่ม,เ ก็บกุญแจไว้บนโต๊ะเล็กๆ ข้างประตูทางออก ช่วยให้ไม่ต้องมานั่งเสียเวลานึกทุกครั้งที่จะใช้ข้าวของที่ว่า

5. ปฎิบัติตัวเป็นกิจวัตร

การทำซ้ำๆ เหมือนๆ กัน ช่วยให้ส ม อ งจำได้เองโดยไม่ต้องพย าย าม เช่น ถ้าทุกครั้งที่ยังอ่ า นหนังสือไม่จบ

แต่ต้องไปทำอย่างอื่น คุณควรวางมันไว้ที่ใดที่หนึ่งเป็นประจำ

เมื่อเสร็จธุระจะกลับมาอ่ า นต่อ ส ม อ งจะสั่งการโดยอัตโนมัติว่า จะต้องไปหยิบหนังสือที่ไหน

6. ใช้ทริคช่วยจำ

ทริคประเภทท่องจำ, คำย่อ, คำคล้องจอง อย่างเช่น ถ้าต้องทำอะไรหลายๆ อย่างในวันเดียว

ลองใช้ตัวย่อ เช่น ฟ-ส-น-ม-อ (ทำฟั น-เอาหนังสือไปคืนเพื่อน-เติมน้ำมันรถ-จ่ายค่ามือถือ) ก็ได้

7. เข้าใจความถนัดของตัวเอง

บางคนจำได้ดีเมื่อได้มองเห็น (จดบันทึก) บางคนจำได้ดีกว่าเมื่อได้ยินเสียง (พูดดังๆ/อัดเทป)

แต่ก็มีบางคนจะจำได้ก็ต่อเมื่อได้ลงมือปฎิบัติหรือมีประสบการณ์ร่วม (เขียน/ทำ)

8. ร่ า ง ก า ยแข็งแรง พักผ่ อ นเพียงพอ

ความจำก็แข็งแรง ดูแลตัวเองให้ดี กินอ า ห า รให้ครบ 5 หมู่ นอนหลับพักผ่ อ นให้เพียงพอ

เพราะเมื่อร่ า ง ก า ยแข็งแรง ความจำก็จะดีไปด้วย

9. บริหารส ม อ ง

ทำกิจกรรมที่แตกต่าง เช่น เล่นเกมส์, อ่ า นหนังสือ, เล่นดนตรี ฯลฯ กิจกรรมเหล่านี้ช่วยให้ส ม อ งได้ออกกำลัง

ก็เหมือนกับร่ า ง ก า ย เมื่อได้ออกกำลังก็จะแอคทีฟขึ้น คิดอะไรได้ฉับไว และที่แน่ๆ ช่วยให้ความจำดีขึ้น

ที่มา : t e e n .m t h a i

Load More Related Articles
Load More By adminjing
Load More In ข้อคิดสอนใจ

Check Also

8 วิธีทำให้คนนับถือคุณ หลักๆ อยู่ที่การวางตัว

ไม่ใช่แค่กลุ่มคนทำงาน แต่พวกเราทุกคนต่างต้องอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ทุ…