
1.ขาดความรู้ความเข้าใจทางการเงิน ขาดทักษะการวางแผนจัดการทางการเงิน ยกตัวอย่าง
เรื่องการใช้บั ต ร เ ค ร ดิ ต คนจำนวนมากใช้บั ต ร เ ค ร ดิ ตหลายใบ แล้วก็หมุนเงินไปเรื่อยๆ
โดยไม่ตระหนักว่า สุดท้ายแล้ว ต้องจ่ายคืนหนี้ทุกใบหรือบางคนก็ยังไม่เข้าใจเรื่องด อ ก เ บี้ ยบั ต ร เ ค ร ดิ ต
ว่าถ้าไม่สามารถชำระหนี้ทั้งหมดได้ตรงเวลา จ่ายเฉพาะขั้นต่ำ ด อ ก เ บี้ ยก็จะทบต้นไปเรื่อย
2.กระแสบริโภคนิยมและค่านิยมที่เปลี่ยนไป มีคนยุคใหม่จำนวนไม่น้อยที่มีทัศนคติว่า
“ถ้าคนอื่นมี ฉันต้องมี” บางคนเริ่มทำงานเดือนแรกก็ไปเที่ยวต่างประเทศแล้ว
โดยใช้โปรแกรมผ่ อ นชำระ 0% แทนที่จะทำงานมาแล้วเก็บเงินไว้ส่วนหนึ่ง
จัดสรรให้พ่อแม่ส่วนหนึ่ง ที่เหลือค่อยให้รางวัลตัวเอง
3.สถาบันการเงินหรือผู้ให้บริการทางการเงิน ก็มีส่วนก ร ะ ตุ้ นให้เกิดการก่อหนี้เกินพอดี
โดยมุ่งเน้นการขายผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินตามความต้องการของ
“ผู้ขาย” มากกว่าจะเป็นไปตามความต้องการของผู้ซื้ อ
4.เวลาลูกหนี้ตกเข้าไปอยู่ใน “วงจรหนี้สินล้นพ้นตัว” มักจะหาทางออกได้ย าก
เนื่องจากกลไกประนอมหนี้ของแต่ละสถาบันการเงินต่างกัน การติดตามหนี้
การพิจารณาหนี้เสียใช้ระยะเวลาไม่เท่ากัน ลูกหนี้ที่มีหนี้กับสถาบันการเงินหลายแห่ง
จึงไม่สามารถแก้ปัญหาหนี้ได้ครบวงจรในคราวเดียวกัน
การมีหนี้ไม่ใช่เรื่องผิด ทุกคนสามารถก่อหนี้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตตัวเองได้
และเป็นเรื่องปกติที่คนวัยทำงานอาจจะก่อหนี้เพื่อสร้างความมั่นคงในครอบครัวแต่
“เราต้องรู้จักความสามารถในการชำระหนี้ของตัวเอง” ต้องรู้จักประมาณตนและต้องตระหนักว่า
“การมีหนี้เกินความสามารถในการชำระหนี้ของตนเองนั้น ถือเป็นเรื่องอั น ต ร า ยที่สุดเรื่องหนึ่ง
ที่มา : t o d a y . l i n e . m e