
เมื่ออายุมากขึ้น ประสบการณ์ต่างๆ ในชีวิตจะช่วยหล่อหลอมให้เรารู้ว่าอะไรควรทำ หรือไม่ควรทำ,
อะไรควรละทิ้งหรืออะไรควรเก็บเอาไว้ ลองมองย้อนหรือมองดูตัวเองตอนนี้ว่ามีนิสัยอะไรที่
คอยรั้งความสุขของเราไว้หรือเปล่าเราขอรวบรวมนิสัยที่ผู้เชี่ยวชาญและคนที่อายุเลยเลข 3 ที่ประสบว่ามันรั้งควาสุขของเราไว้
แน่นอนว่า ใน 11 ข้อ เป็นเพียงทางเลือกที่เราอย ากให้ทุกคนลองหันมาใส่ใจกับ ตัวเอง, ความสัมพันธ์, สุ ข ภ า พ
และ ความสุข มากขึ้น ลองดูว่าเห็นด้วยไม่เห็นด้วยกับอันไหน และสิ่งไหนควรเปลี่ยนและปรับให้เข้ากันแล้วแต่คนแต่ละคน
อยู่เพื่อวันหยุด เส า ร ์ – อาทิตย์
ทางแก้ : วางแผนสิ่งที่เราอย ากทำในวันธรรมดา อาจเป็นช่วงเช้าหรือช่วงเย็นก็ได้ เช่นนัดเพื่อนทานข้าวเช้าดีๆไปทานร้านอ า ห า ร เปิดใหม่สังสรรค์กับเพื่อนตอนเย็น เป็นต้น หรืออาจหากิจกรรมที่สนฝจทำหลังเลิกงานบ้ า ง เช่น วาดรูป, ออกกำลังกาย, เล่นดนตรี ฯลฯ ให้วันธรรมดาพิเศษขึ้นมา
1.ไม่ยอมเก็บเงิน
การเก็บเงินเป็นสิ่งสำคัญ สำคัญ สำคัญ!!!! มีผู้เชี่ยวชาญเคยบอกว่าเราควรเก็บเดือนละ 10-15% ของรายได้เมื่อเราอายุ 20 ขึ้นไป
และเมื่อ 30 ขึ้นไป เราควรเก็บเพิ่มให้ได้ 15-25% ลองใช้ระบบตัดเงินในบัญชีอัติโนมัติดูถ้าคิดว่าจะไม่สามารถคุมเงินได้
หรือใครมีวิธีแบบไหนสะดวกในแบบของตัวเองก็ทำกันเถอะ เงินเก็บมันสำคัญจริงๆ น้าาาา
2.ตอบ “ใช่” ทั้งๆ ที่ในใจ คือ “ไม่”
บางครั้งเรามักตอบสนองต่อสิ่งอื่นที่ผู้คนต้องการไวเกินไป โดยไม่คิดถึงสิ่งที่ตัวเองต้องการ ลองคิดถึงตัวเองดูบ้ า งว่าเราก็มีความ
ต้องการ มีสิ่งที่ต้องทำ เรียงลำดับความสำคัญดีๆ หากคุณมีงานด่วนเย็นนี้ แต่จู่ๆ เพื่อนสนิทขอร้องให้ไปช่วยดูบ้ า น
คุณก็ต้องชั่งน้ำหนักสิ่งที่ควรไม่ควรให้ดี ไม่ใช่ว่าตอบ “ใช่” ไปเสียหมด จะทำให้คุณไม่ได้อะไรเลย
3.เวลานอนไม่แน่นอน
การนอนไม่เป็นเวลา และนอนไม่พอเป็นสาเหตุของโ ร ค ที่ตามมาอีกมากมาย เมื่อเราอายุมากขึ้นระบบในร่ า ง ก า ย จะเริ่มรวนและ
ทำงานไม่เก่งเหมือนเคยย เราควรหันมาดูแลตัวเองให้ยิ่งไวยิ่งดีก่อนโ ร ค ร้ า ย จะถามหา
4.ทะเลาะกับคุณพ่อ คุณแม่
บางครั้งเมื่อคุณพ่อ คุณแม่อายุมากขึ้น อาจมีความงอแง จนเราอาจหงุดหงิดขึ้นมาได้ ไม่ว่าจะเจอกันต่อหน้าหรือผ่านทางโทรศัพท์
เราควรเข้าอกเข้าใจพวกท่านเปิดใจให้กว้างพย าย ามอยู่กับท่านให้ได้มากที่สุด
ดูแลด้วยความเคารพ เพราะพ่อแม่นี่แหละคือความรักในชีวิตที่เราไม่ต้องมองหาจากที่ไหน
5.เช็กมือถือระหว่างกินข้าวเย็น
ไม่ว่าจะเป็นโต๊อ า ห า ร เย็นที่คุณกำลังทานกับครอบครัว ,เพื่อน หรือแม้กระทั่งคนรัก เราควรใช้เวลาในช่วงนั้นกับการมีช่วงเวลาดีๆ
ร่วมกัน พย าย ามหลีกเลี่ยงการนำมือถือขึ้นมาเลื่อนฟีดอ่ า น หรือตอบ
แชทที่ยังไม่รีบร้อน เพราะกิจกรรมเหล่านั้นเป็นสิ่งที่สามารถรอได้
6.ไม่ออกกำลังกาย
ไมจำเป็นต้องมีเป้าหมายยิ่งใหญ่อย่ างวิ่งมาราธอน หรือการมีกล้ามเ นื้ อ เป็นมัด เมื่ออายุมากขึ้นเรื่อยๆ ระบบในร่ า ง ก า ย จะไม่เหมือน
เก่าการออกกำลังกายจะช่วยรั ก ษ า าสมดุล และทำให้เราสดชื่นแข็งแรงขึ้น หากไม่ชอบไปฟิตเนสหรือเข้ายิม
ลองเลือกกีฬาหรือการขยับตัวที่เหมาะสมกับเรา อาจเป็นการลองเดินให้มากขึ้น โดยใช้เวลา 30 นาทีต่อวัน อาทิตย์ละ 3 ครั้ง เป็นต้น
7.เทนัดในนาทีสุดท้าย
เมื่อตัดสินใจว่าเย็นนี้จะไปเจอเพื่อนสนิทสมัยมหาลัยในร้านโปรด แต่พอเวลาใกล้เลิกงานกลับขี้เกียจขึ้นมาซะงั้น หากไม่มีเหตุผล
สำคัญจริงๆ อย่ าเทนัดจนเป็นนิสัย มีผลวิ จั ย ออกมาว่า การออกไปใช้เวลา
กับเพื่อนๆ ช่วยทำให้อารมณ์ดีขึ้นและลดความเ ค รี ย ด ได้ด้วยนะ
8.พย าย ามเอาใจคนอื่นตลอดเวลา
ไม่ตอบสนองความต้องการของตัวเองแต่ไปเติมเต็มความต้องการของตัวเอง จริงอยู่ที่การให้เป็นสิ่งที่ดี แต่เรื่องบางเรื่องเราอาจต้อง
ลองเงี่ยหูฟังใจเราดูว่าสิ่งที่คนอื่นต้องการมันขัดกับสิ่งที่เราปรารถนาหรือไม่ ? ลองตามใจตัวเองบ้ า ง ชั่งน้ำหนักสิ่งโดยรอบให้ดี
9.เปรียบเทียบชีวิตตัวเองกับคนอื่น
ยอมรับว่าเส้นทางของแต่ละคนนั้นต่างกัน การเลื่อนฟีดในโลกออนไลน์เจอความสำเร็จของเพื่อนๆ หรือคนรู้จักแล้วนำเอามาเปรียบ
เทียบกับตัวเองว่าทำไมเราไม่ได้อย่ างนั้น , ไม่เป็นอย่ างนี้เหมือนคนอื่น
เขาอย่ านำมาตราฐานของเราไปตัดสินทุกสิ่งและกดให้ตัวเราเองรู้สึกแ ย่ อย่ าลืมเห็นค่าสิ่งที่เรามีไป
10.จมอยู่กับอดีต
ไม่มีอะไรจะทำให้เราจมปลักไปเท่ากับการรู้สึกผิดต่อตัวเองในอดีตอีกแล้ว การแก้ไขอดีตอาจจะเป็นการที่คุณต้องเปลี่ยนทัศนคตที่
มีต่อมันซะ ทุกสิ่งทุกอย่ างที่เกิดขึ้นล้วนมีเหตุผลและหล่อหลอมให้คุณเป็นคุณจนทุกวันนี้
การรู็สึกผิดและยึดติดกับมันจะทำให้คุณไม่สามารถก้าวต่อไปได้
11.พูดคำว่า “ขอโทษ” บ่อยเกินไป
ไม่จำเป็นต้องขอโทษในทุกเรื่อง เช่น ตอบแชทสาย (ในกรณีที่ไม่เกี่ยวกับงานหรือเรื่องจำเป็น) หรือเพื่อนชวนไปปาร์ตี้วันศุกร์แล้ว
เราขอเลือกนอนดูซีรีส์อยู่บ้ า น เมื่อเราพูดขอโทษบ่อยเกินไปจนมันเหมือนกลายเป็นคำๆ หนึ่งที่เริ่มจะไม่สำคัญ และทำให้เราดูเป็น
คนหนักแน่น ทั้งยังรู้สึกผิดกับตัวเอง ลองใช้คำว่า “ขอโทษ”
ให้น้อยลงใช้กับสิ่งที่เราคิดว่าผิดจริงๆ เพื่อให้มันมีน้ำหนักความหมายตามคำของมัน
ที่มา : mangozero