
หลังวันพักผ่ อ น หยุดย าว ถึงเวลาต้องกลับมาทำงานจริงๆ จังๆ ปัญหาที่หลายคนเจอคือขี้เกียจ
กว่าเดิม หรือถึงขั้นคิดงานไม่ออก ส ม อ ง ตื้อไปชั่ วขณะ ไม่ใช่คุณคนเดียวที่ประสบปัญหานี้
การตกอยู่ในสภาวะ ส ม อ ง ตื้อ คิดงานไม่ออก ความคิดสร้างสรรค์หดหาย เป็นภาวะที่เกิดได้จากหลายสาเหตุ
ไม่ว่าจะเป็นการตอบสนองจากภายในร่ า ง ก า ย จากการพักผ่ อ นไม่เพียงพอ ความเ ค รี ย ด
ความเบื่อหน่ายบางสิ่งบางอย่าง หรือแม้แต่บรรย ากาศที่ไม่เอื้ออำนวยต่อการทำงาน
ทำให้ไม่มีแรงบันดาลใจ หรือไม่มีสมาธิจดจ่ออยู่กับงาน ฯลฯ
อย่างไรก็ตาม ปัญหาเหล่านี้มีโอกาสหายไปหากมีวิธีการจัดการหรือการก ร ะ ตุ้ น ที่เหมาะสม
โดย 5 วิธีที่จะกล่าวถึงต่อไปนี้ น่าจะเป็นตัวช่วยสำคัญที่ช่วยเรียกคือพ ลั งความสร้างสรรค์ให้กลับมาได้อีกครั้ง
1.หยุดการต่ อ สู้
หลายคนหมดพ ลั งในการทำงาน แต่กำลังต่ อ สู้ กับมันด้วยการพย าย ามซ้ำ ๆ แต่นั่นอาจไม่ใช่ทางออก
ที่ดีเท่ากับการยอมรับว่าคุณกำลังคิดไม่ออก เพราะบางทีส ม อ ง ของคุณต้องการที่จะเติมพ ลั ง ดังนั้น
ลองให้โอกาสตัวเองได้หยุดเพื่อหาทางออกอื่นๆ ที่ดีกว่าการงพย าย ามต่ อ สู้ แบบเดิมๆ
ที่อาจเพิ่มความเ ค รี ย ดและความทุกข์มากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่
2.พูดคุย และเดินเล่น
ลองออกจากโต๊ะทำงาน ไปเดินเล่นข้างนอก พูดคุยเรื่องอื่น ๆ ที่ไม่เกี่ยวกับเ นื้ องาน
หรือออกกำลังกายเล็กน้อย เพื่อให้ร่ า ง ก า ยได้สู บ ฉี ด เ ลื อ ด เพราะการเคลื่อนไหวร่ า ง ก า ยเหมือน
กับการเพื่อล้ า ง หั วที่มีความคิดอยู่แน่นไปหมด แม้ว่าการเคลื่อนไหวเล็ก ๆ น้อย ๆ
เหล่านี้จะไม่ได้ฟื้ น ฟู การทำงานของส ม อ ง อย่างสมบูรณ์ แต่จะช่วยเ ผ า ผ ล า ญ แ ค ล อ รี่
และทำให้รู้สึกว่าร่ า ง ก า ยดีขึ้น มีผลให้ส ม อ ง ทำงานได้ดีขึ้นเช่นกัน
3.ทำสิ่งที่ไม่สนใจ
หากคุณไม่สามารถนึกถึงบางสิ่งที่มีประสิทธิผลอย่างแท้จริงหรือทำการตัดสินใจที่สำคัญให้ลอง
ใช้เวลาที่ความคิดตีบตัน เคลียร์โต๊ะ เคลียร์อีเมล หรือเลือกงานง่าย ๆ ตรงหน้าคุณที่ไม่ต้องตัดสินใจ
หนักหรือคิดหนักทำไปพราง ๆ เพราะ การทำสิ่งเหล่านี้จะทำให้รู้สึกว่า แม้เราคิดงานไม่ออก
แต่ยังคงประสบความสำเร็จบางอย่าง สร้างประโยชน์จากเวลาที่ไร้ค่าได้ แม้ว่ามันจะ
ไม่ใช่เรื่องใหญ่ที่คุณคิดว่าควรจะทำ แต่อาจนำไปสู่ความคิดใหม่ ๆ ได้เช่นกัน
4.เรียนรู้ เพื่อหาไอเดียใหม่ๆ
การพย าย ามคิดด้วยความเคร่งเ ค รี ย ด ไม่สามารถสร้างไอเดียได้ดีเท่ากับการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
เพิ่มเติม สำหรับคนที่กำลังคิดอะไรไม่ออก ลองอ่ า นบล็อก อ่ า นหนังสือ หรือฟังวิดีโอหรือเสียงเกี่ยวกับสิ่ง
ที่ต้องการเรียนรู้หรือมีความเชี่ยวชาญ เพื่อเป็นช่องทางสำคัญที่จะนำไปสู่ไอเดียใหม่ๆ ได้
อย่างไรก็ตาม การเรียนรู้ในช่วงที่ส ม อ ง ตื้อ ต้องไม่กดดันตัวเองให้เรียนรู้สิ่งที่ซับซ้อนหรือย ากเกินไป
แต่อาศัยการฟังและซึมซับในสิ่งที่สนใจ สบายใจ และไม่นำไปสู่ความเ ค รี ย ด
5.ยืมส ม อ ง คนอื่น
ในกรณีที่ส ม อ ง ตื้อจนมุม แต่ต้องทำงานเพื่อแข่งกับเวลา การพย าย ามปลอบประโลมตัวเอง
เดินเล่น ท่องโซเชียลเพื่อหาไอเดียใหม่ ๆ อาจไม่ทันการ สิ่งหนึ่งที่สามารถจุดประกายความคิดได้
คือขอความคิดเห็น ขอคำแนะนำ หรือถามคนที่เชี่ยวชาญ หรือไว้วางใจได้ เพื่อช่วยเสนอแนวทางที่
ชัดเจนขึ้นได้ในเวลาอันสั้น ซึ่งอาจะเป็นตัวช่วยสำคัญที่ทำให้งานเดินไปได้
ตามเวลาโดยไม่ต้องตัดสินใจอย่างโดดเดี่ยวได้เช่นกัน
6.นั่งสมาธิ
การนั่งเงียบ ๆ ประมาณ 10-15 นาที สูดลมหายใจเข้าออกช้า ๆ โฟกัสเฉพาะการหายใจ
อย่างต่อเนื่อง ปล่อยให้ความคิดลอยไปโดยไม่ตัดสิน จะทำให้รู้สึกสงบและช่วยล้าง
ความคิดที่มุ่งเน้นไปที่การแข่งขัน ที่อาจขัดขวางความสามารถในการทำงานตลอดเวลาที่ผ่านมา
7.ทำสิ่งที่สร้างสรรค์
ให้เวลาตัวเองได้ทำสิ่งที่สร้างสรรค์สิ่งที่คุณอาจรู้สึกหลงใหลในห้วงเวลาสั้น ๆ สัก 1 ชั่ วโมง
เช่น วาดภาพ ทำอ า ห า ร ทาสี เล่นเครื่องดนตรี เต้นรำ เขียนบทกวี หรืออะไรก็ตามที่ทำ
ให้คุณมีความคิดสร้างสรรค์ โดยไม่ตัดสินกระบวนหรือผลลัพธ์ที่ออกมา การทำสิ่งที่เหล่านี้
จะปลดปล่อยภาระหน้าที่หนักอึ้ง หรือความคิดมากมายที่แน่นทึบในส ม อ ง
ช่วยให้สนุกและผ่ อ นคลาย และเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีในคิดงานใหม่ ๆ
8.ช่วยเหลือใครบางคน
หากคุณไม่รู้ว่าต้องทำอะไรเพื่อตัวเองจงทำบางสิ่งเพื่อคนอื่น เสนอตัวเพื่อช่วยเพื่อนร่วมงาน
หรือเพื่อนบ้ าน เขียนจดหมายถึงเพื่อนเก่าหรือโทรหาใครบางคนที่ประสบกับ
ความย ากลำบากเพื่อช่วยเหลือ วิธีนี้จะโน้มไปในลักษณะการสร้างคุณค่าในตัวเอง
เหมาะกับคนที่กำลังรู้สึกเบื่อหน่ายกับงานที่กำลังทำอยู่ มากกว่าคนที่คิดงานไม่ออก
9.ลิสต์รายการที่ต้องทำ
เมื่อรู้สึกสับสนและคลุมเครือ การเขียนสิ่งต่าง ๆ เหล่านั้นลงบนกระดาษ เป็นตัวช่วยที่ดี
ในการตัดสินใจเพื่อหาทางออก หรือสร้างสรรค์อะไรบางอย่าง เนื่องจากการเขียนลิสต์
รายการออกมาจะช่วยให้สามารถ จัดระเบียบส ม อ ง ได้เป็นอย่างดี ที่สำคัญการจัด
ระเบียบทำให้มองเห็นสิ่งที่ต้องทำหรือควรทำในระยะย าว ซึ่งทำให้สามารถจัดการการทำงานก่อนหลังได้ตามความสะดวก
10.ไม่ทำอะไรเลย!
แม้จะดูไม่เหมือนการแก้ปัญหาสักเท่าไร แต่ การปล่อยให้ตัวเองมีความสนุกสนานโดย
ไม่รู้สึกผิดหรือเ ค รี ย ด เป็นอีกทางหนึ่งที่อาจทำให้ส ม อ ง ของคุณจะแสดงความขอบคุณเป็นไอเดียดี ๆ ในตอนเช้า
อย่างไรก็ดี วิธีเหล่านี้เป็นเพียงการก ร ะ ตุ้ น ในมิติด้านความคิดเท่านั้น ส่วนมิติด้านสุ ข ภ า พ
อย่างการออกกำลังกาย พักผ่ อ นให้เพียงพอ ก็เป็นส่วนหนึ่งที่ต้องดูแลอยู่เสมอ
เพราะท้ายที่สุดแล้วสุ ข ภ า พย่อมเพื่อเป็นรากฐานที่ดี ที่เอื้อต่อให้ความคิดโลดเล่น
เป็นจุดเริ่มต้นของความคิดสร้างสรรค์ที่ดีในระยะย าว
ที่มา : l i v e b o l d a n d b l o o m