Home ข้อคิดสอนใจ คนที่เก็บเงินเป็น เขามักจะเป็นคนแบบนี้

คนที่เก็บเงินเป็น เขามักจะเป็นคนแบบนี้

6 second read
0
0
75

วิธีที่ 1 ใช้เท่าไหร่ เก็บเท่านั้น

เช่นวันนี้ ซื้ อ เสื้อไป 250 บาท ก็ให้เก็บ 250 บาท เท่ากับจำนวนเงิน ที่ใช้ไป

ยิ่งเราใช้เงินฟุ่มเฟือยมาก ก็ยิ่งต้องเก็บมากถือเป็นการเก็บเงินหลังใช้และ

เป็นวิธีที่เหมาะกับคนที่ ค่อนข้างใช้เงินเก่ง เพราะยิ่งเราใช้เยอะ เราก็ต้อง

มีวินัยในการเก็บเงินให้เยอะขึ้นด้วย

วิธีที่ 2 แบ่งใช้ตามวัน

เช่น ตั้งเป้าว่าจะใช้วันละ 200 บาท เหลือใช้จากวันนั้นๆ ก็ให้นำเงินที่เหลือ

มาหยอดกระปุกเลยทำแบบนี้วนไปเรื่อยๆ 1 ปีมาดูกันว่าจะมีเงินเก็บทั้งหมดเท่าไหร่!

วิธีที่ 3 เก็บแบงค์ 100

เช่น ถ้าเจอแบงก์ร้อยที่ลงท้าย ด้วยเลข 3 ก็ให้เก็บไว้หรือเราเกิด วันที่ 1

ถ้าเจอแบงก์ร้อย ลงท้ายด้วยเลข 1 ก็หยอดกระปุกไป

วิธีที่ 4 เก็บแบงค์ใหม่

เวลาถอนออกมาจากตู้ ATM หรือได้เงินทอนมา ให้เก็บไว้เลย จะเก็บ

ทุกแบงก์หรือเก็บเฉพาะแบงก์ไหนเป็นพิเศษก็แล้วแต่เรา หรือจะเก็บ

เหรียญใหม่ไว้ด้วยก็ได้นะ

วิธีที่ 5 หยอดกระปุกออมสิน

วิธีออมเงินแบบเดิมๆ ที่ยังใช้ได้ผล คือ แบ่งกระปุกออกเป็นหลายๆ ใบ

เขียนเป้าหมายในแต่ละกระปุกว่าออมเพื่ออะไรให้เราเห็นเป้าหมายในทุกๆ วัน

แค่นี้ก็มีกำลังใจ ในการออมแล้ว แต่อย่าลืมว่าต้องมีกระปุกสำหรับเงินเก็บด้วยนะ

วิธีที่ 6 เปิดบัญชีเงินปากประจำ

วิธีนี้รับรองว่ามีเงินเก็บชัวร์ พอเงินเดือนเข้าปุ๊บ ก็ดึงเข้าบัญชีฝากประจำปั๊บ

ถอนไม่ได้ด้วยมีให้เลือกระยะเวลาด้วยว่าอยากออมกี่เดือน 12 เดือน 24 เดือน

หรือ 36 เดือนก็ได้ ด อ ก เ บี้ ย สูงแถมไม่เสียภาษีด้วยนะ!

วิธีที่ 7 ตั้งเป้าว่าจะเก็บเท่าไหร่

ใน 1 ปี ตั้งเป้าเลยว่า อยากมีเงินเก็บเท่าไหร่ เอาเท่าที่ไหว เช่น อยากมี 1 แสนบาท!!

ก็ตกเดือนละ 8,333 บาท หรือ วันละ 274 บาทนั่นเอง ถ้าไหวก็ลุยโลดดด

วิธีที่ 8 เก็บเงินตามวันที่

วิธีนี้ให้เอาวันที่เป็นตัวตั้ง หมายความว่า วันที่ 1 ให้เก็บเงิน 1 บาท วันที่ 2

เก็บ 2 บาท หยอดกระปุกไปเรื่อยๆจนถึงวันที่ 31 เก็บ 31 บาท พอขึ้นเดือนใหม่

ก็เริ่มเก็บ 1 บาทใหม่ตามวันที่นั้น ๆ ทำแบบนี้ไปทุกเดือน ๆ รวมทั้งปีเรา

จะมีเงินเก็บทั้งหมด 5,738 บาท หรือถ้าใครจะเก็บเงินวันที่ 1 เป็น 10 บาท

วันที่ 31 เป็น 310 บาทก็ได้รวมทั้งปีเราจะมีเงินเก็บถึง 57,380 บาทเลยยย!!!!

แม่เจ้าครึ่งแสนนน

วิธีที่ 9 เก็บ 10% ของเงินเดือน

พอเงินเดือนออกปุ๊บ ก็ให้เก็บก่อนเลย 10% ของเงินเดือน ถือเป็นการเก็บเงิน

ก่อนใช้สมมุติได้เงินเดือน 20,000 บาท ก็เก็บ 2,000 บาท ทำแบบนี้ทุกเดือน ๆ

ถึงสิ้นปี เราจะมีเงินเก็บ 24,000 บาท

วิธีที่ 10 เก็บแบงค์ 50

วิธีคลาสสิค ที่ใช้ได้จริง แบงก์ 50 เป็นแบงก์ที่เรา มักไม่ค่อยจะได้เจอสักเท่าไร

ในชีวิตประจำวันเวลาใช้จ่ายแล้วได้รับเงินทอนมาเป็นแบงก์ 50 เมื่อไร ไม่ว่า

จะเป็นแบงก์เก่าหรือใหม่ก็ตามให้เก็บไว้เลยทันที ทำแบบนี้ทุกครั้ง

ที่ได้รับเงินทอน

วิธีที่ 11 เก็บเศษเงินเดือน

สำหรับคนที่เงินเดือนมีเศษ เช่น 20,650 บาท ก็ให้เก็บเศษ 650 บาท หากใคร

มีเศษน้อยหน่อยเช่น 19,250 บาทก็อาจจะเก็บ 1,250 บาทเลยก็ได้ ลองปรับดู

ตามความเหมาะสม แล้วเก็บแบบนี้ไปทุกเดือน ๆเศษเงินเดือนที่ว่าเล็กก็สามารถ

กลายเป็นเงินก้อนใหญ่ได้ไม่ยาก

วิธีที่ 12 เก็บทุกเหรียญ

เก็บเศษเงินทอนที่ได้มาไปหยอดกระปุก ทุกครั้งที่ใช้จ่ายอย่าดูถูก พ ลั ง

ของเศษเหรียญบาท เหรียญสองบาท เหรียญสลึงเชียว

วิธีที่ 13 ออมเลข 3 ตัวท้าย

1 เดือน หวยออก 2 งวด ก็จะได้เก็บเงิน 2 ครั้ง จะเอาเงินที่เก็บได้ไปฝาก

ธนาคารหรือจะเอาไป ซื้ อ สลากออมสิน / ธ.ก.ส. เพื่อลุ้นรางวัลอีกรอบก็ได้

ตามใจชอบเลย

วิธีที่ 14 เก็บจากส่วนลดที่ ซื้ อ

เช่น ซื้ อ ลิปสติก 390 บาท ที่ลดราคาจาก 690 บาท ก็ให้ออมส่วนต่าง

ที่ลดราคาคือ 300 บาทวิธีนี้นอกจากจะมีเงินเก็บแล้ว ยังลดการ ซื้ อ

ของฟุ่มเฟือยได้อีกด้วย

วิธีที่ 15 หักเข้ากองทุน สำรองเลี้ยงชีพ

เช่นเงินเดือน 20,000 บาท หักเต็มเลย 15% 3,000 บาท เราจะได้เงิน

สมทบ จากนายจ้างอีกเท่าตัวเต็มๆวิธีนี้กว่าจะได้เงินก็นานหน่อย

แต่รับรองว่าผลตอบแทนดี และมีเงินใช้ ย  า ม เ ก ษี ย ณ แน่นวลล

ขอขอบคุณ s a l e h e r e

Load More Related Articles
Load More By jingjai
Load More In ข้อคิดสอนใจ

Check Also

วิธีบริหารเงิน ให้มีกินมีใช้ “ไม่เป็นหนี้”

การออมที่ดี คือ การออมอย่างมีความสุข ไม่ต้องใช้ชีวิตอยู่อย่างลำบากแต่การใช้เงินอย่างไร ให้…