Home ข้อคิดสอนใจ 17 วิธีทำงานที่บ้าน ทำอย่างไรให้ได้งาน ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป

17 วิธีทำงานที่บ้าน ทำอย่างไรให้ได้งาน ไม่น่าเบื่ออีกต่อไป

17 second read
0
0
266

1. กำหนดเวลาทำงาน

แม้ว่าการทำงานที่ บ้ า น จะมีข้อดีมากมาย แต่หลายครั้งก็กินเวลาชีวิตอย่างไม่รู้ตัว เช่น ทำให้บางคนเริ่มงานเร็วกว่าปกติ ทำให้บางคนทำเพลินจนลืมเวลาพัก

และทำให้บางคนติดพันจนเลิกช้ากว่าเดิม จึงส่งผลให้การใช้ชีวิตเริ่มไม่สมดุล ฉะนั้นเคล็ดลับแรกของการทำงานที่ บ้ า น คือ การกำหนดตารางเวลาทำงานและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด (ยกเว้นกรณีงานด่วน) อาจจะตั้งเวลาแจ้งเตือนไว้ เพื่อช่วยให้ชีวิตมีแบบแผนมากยิ่งขึ้น

อย่างไรก็ตาม การทำงานที่ บ้ า น มีสิ่งล่อลวงเยอะ ทำให้เสียสมาธิได้ง่าย Alan Hedge จึงให้คำแนะนำว่า ในช่วงแรก ๆ ให้ทำตามกฎ 20-20-20 คือ ทำงาน 20 นาที พักเบรก 20 วินาที

โดยในช่วงพักเบรกให้มองไกลออกไปจากงาน 20 ฟุต เพื่อช่วยเบี่ยงเบนความสนใจ เนื่องจากคนเรามักจะหลุดโฟกัสหรือมีความมุ่งมั่นน้อยลงภายใน 20 นาทีนั่นเอง

2. ตั้งกฎกับคนในครอบครัว

ถ้าหากใน บ้ า น มีสมาชิกอยู่ด้วยกันหลายคน เช่น พ่อ แม่ พี่ น้อง หรือเพื่อน ให้บอกกล่าวกับทุกคนให้ชัดเจนว่า เราว่างตอนไหน อะไรที่ทำได้ อะไรทำไม่ได้ เพื่อช่วยให้เข้าใจตรงกันและไม่ส่งผลกระทบต่องาน

เนื่องจากบางครั้งคนที่อยู่ด้วยอาจจะคาดหวังให้เราคุยเล่นหรือทำงาน บ้ า น บ้ า ง ซึ่งความจริงแล้วก็พอช่วยได้ บ้ า ง เล็กน้อย แต่ต้องไม่ทำประจำ จนทำให้เวลาและประสิทธิภาพในการทำงาน แ ย่ ลง

ส่วน บ้ า น ที่มีเด็กวัยเรียนที่พอจะรู้เรื่องรู้ราวอยู่ บ้ า ง ให้บอกขอบเขต เวลาว่าง และเวลาเลิกงานกับพวกเขาอย่างชัดเจน อาจจะเป็นการล็อกประตูห้องไว้ก่อน ติดป้ายบอกว่ากำลังทำงานอยู่ หรือกำหนดเวลาว่าสามารถเข้ามาได้ตอนไหนก็ได้

3. สร้างกิจวัตรในตอนเช้า

การเริ่มต้นทำอะไรสักอย่างเป็นเรื่องยากเสมอ ในแง่ของการทำงานที่ บ้ า น ก็เช่นเดียวกัน เพราะบางครั้งกว่าจะตัดสินใจนั่งประจำที่และทำงานได้ ต้องใช้เวลามากกว่าที่ออฟฟิศ ดังนั้นผู้เชี่ยวชาญจึงแนะนำว่า

ให้สร้างกิจวัตรในตอนเช้าที่จะทำให้ ร่ า ง ก า ย คุ้นเคยว่าถึงเวลาเริ่มงานแล้ว เช่น การดื่มกาแฟ การออกกำลังกาย หรือแม้กระทั่งการเปลี่ยนเสื้อผ้า เพราะตามหลัก จิ ต วิ ท ย า แล้ว

การใส่ชุดนอนทำงานเป็นกลยุทธ์ที่ไม่ค่อยเวิร์กเท่าไร เนื่องจากทำให้รู้สึกสบายและผ่อนคลายมากเกินไป โดยทางที่ดีให้เปลี่ยนมาเป็นชุดลำลองหรือชุดทำงานที่ไม่ค่อยเนี้ยบ เพื่อช่วยให้ความรู้สึกแบบอื่นที่ไม่ใช่การพักผ่อนแทน

4. รู้เวลาพัก

เพราะการทำงานที่ บ้ า น ไม่มีเพื่อนชวนกินข้าวยามพักกลางวัน หรือชวนพักเบรกจากความเหนื่อยล้าระหว่างวัน ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของตัวเราเองที่ต้องรู้นโยบายของบริษัทว่าให้พักได้ในเวลาไหน

มีพักเบรกย่อย บ้ า ง หรือเปล่า จากนั้นก็นำมาปฏิบัติตามในช่วงที่ทำงานที่ บ้ า น อย่างเหมาะสม ซึ่งส่วนใหญ่แล้วหลายบริษัทมักจะให้พักกลางวันในช่วงเที่ยง

และมีพักเบรกย่อยในช่วงบ่าย อ้อ แล้วในขณะพักก็พยายามใช้เวลาให้คุ้มค่า ไม่จำเป็นต้องกลับมาทำงานเร็วกว่ากำหนด ถ้าเพื่อความสะดวกสบายและแบ่งเวลาได้อย่างเหมาะสม จะตั้งเวลาหรือนาฬิกาไว้เลยก็ได้

5. แสงสว่างที่เพียงพอ

การเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมกับการนั่งทำงาน ถือเป็นสิ่งสำคัญของการทำงานที่ บ้ า น เพราะบางห้องอาจทำให้รู้สึกเอื่อย เหนื่อยล้า และไม่มีแรงบันดาลใจได้ ฉะนั้นผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่จึงแนะนำให้นั่งทำงานในห้องที่ให้พลังงานมากที่สุด ซึ่งปกติแล้วจะเป็นห้องที่วิวดีและมีแสงธรรมชาติมาก อย่างไรก็ตามอีกหนึ่งเคล็ดลับบอกว่า

ควรเลือกห้องที่มีแสงสว่างเพียงพอและติดตั้งไฟในตำแหน่งที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงห้องที่มีแสงสว่างมาจากจุดเดียว พยายามเลือกห้องที่มีแสงสว่างหลายแหล่ง ซึ่งจะทำให้แสงกระจายตัว ช่วยลดอาการ ป ว ด ตา แถมยังช่วยลดแสงสะท้อนและความสว่างจ้าของหน้าจอด้วย

6. จัดพื้นที่ทำงานให้น่านั่ง

เมื่อเลือกพื้นที่ที่เหมาะกับการนั่งทำงานได้แล้ว ต่อไปก็ต้องเคลียร์ข้าวของ ทำความสะอาด และจัดระเบียบให้เรียบร้อย เนื่องจากการนั่งทำงานในบริเวณที่รกและสกปรก สามารถทำให้ความคิดยุ่งเหยิงและเสียสมาธิได้ อย่างไรก็ตาม ไม่ได้หมายความว่าต้องจัดเตรียมพื้นที่ให้เป๊ะทุกองศา เพราะความจริงแล้วแค่เก็บเอก ส า ร ไว้ในกล่อง

เก็บข้าวของให้เข้าที่เข้าทาง เลือกสิ่งของที่วางบนโต๊ะอย่างเหมาะสม แยกข้าวของที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป พร้อมทั้งหาอะไรที่ทำให้เกิดแรงบันดาลใจ เช่น ผลงานศิลปะหรือต้นไม้ มาวางไว้ ก็ช่วยเพิ่มความสดใสและชีวิตชีวา ทำให้น่านั่งทำงานไม่เบาแล้ว

7. วางอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการทำงาน

สิ่งสำคัญอีกหนึ่งอย่างสำหรับการทำงานที่ บ้ า น คือ ต้องมีอุปกรณ์ที่เหมาะสมกับการทำงาน ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ ยิ่งไปกว่านั้น การจัดวางอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งโต๊ะ เก้าอี้ คอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด เ ม า ส์ ก็ต้องถูกต้องตามหลัก เพื่อช่วยให้ทำงานได้อย่างสมบูรณ์ และป้องกันอาการบาด เ จ็ บ ที่อาจเกิดขึ้นได้ด้วย

8. หลีกเลี่ยงการทำงานบนโซฟาหรือเตียงนอน

ทุกวันนี้ Wi-Fi ช่วยให้เราทำงานได้ทุกที่ แม้กระทั่งโซฟาและเตียงนอน แต่นั่นไม่ได้หมายความว่าเราสามารถทำงานได้ทุกที่จริง ๆ เพราะ Julie Morgenstern ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการจัดระเบียบและผู้เขียนหนังสือ Organizing from the Inside Out อธิบายว่า เราต้องแยกระหว่างพื้นที่ทำงานและพื้นที่พักผ่อนออกจากกัน

เพื่อช่วยให้มีขอบเขตในการใช้ชีวิต ซึ่งถ้าหากใครไม่มีโต๊ะทำงานก็สามารถใช้เป็นโต๊ะ อ า ห า ร หรือโต๊ะญี่ปุ่นแทนได้ แต่สิ่งสำคัญที่สุด คือ ต้องระวังเรื่องปัญหา ป ว ด หลัง ป ว ด คอ และต้องเคลียร์เอก ส า ร และอุปกรณ์หลังเลิกงานเสมอ เพื่อไม่ให้เวลางานมาปะปนกับเวลาส่วนตัวนั่นเอง

9. แสดงตัวและติดต่อสื่อ ส า ร อยู่เสมอ

หนึ่งสิ่งที่คนทำงานที่ บ้ า น ต้องทำ คือ การติดต่อสื่อ ส า ร กันอยู่ตลอดเวลา คอยบอกตารางงาน รายงานสถานะงาน เพื่อให้อีกฝ่ายรับรู้ว่าทำงานอยู่ ไม่ได้หายไปไหน ซึ่งถึงแม้จะฟังดูวุ่นวายไปหน่อย

แต่ก็ช่วยให้หัวหน้าสบายใจได้ อย่างไรก็ตามไม่ได้หมายความว่าต้องพูดคุยหรือรายงานทุก 5 นาที เขียนอธิบายทุกการเคลื่อนไหว ทว่าเป็นการทบทวนตัวเองให้คนอื่นทราบ และเป็นการติดต่อสื่อ ส า ร กันอยู่เรื่อย ๆ ก็เท่านั้น

นอกเหนือจากนี้ การวิดีโอคอลก็เป็นอีกหนึ่งเทคโนโลยีที่คนที่ทำงานที่ บ้ า น ต้องทำบ่อย ๆ ทว่าแทนที่จะเข้าร่วมและทำตัวเงียบ ๆ อย่าลืมพูดคุย ทักทาย และเสนอแนะ เพื่อให้ทุกคนรู้ว่าเรารับฟังอยู่ หรือที่ง่ายที่สุด แค่กล่าวสวัสดีตอนเริ่มและบอกลาตอนจบก็ยังได้

10. เตรียมข้อมูลและอุปกรณ์ให้พร้อม

อย่าลืมว่าการทำงานที่ บ้ า น จะเรียกไอทีมาช่วยเหลือไม่ได้ ฉะนั้นจึงถือเป็นเรื่องสำคัญที่พนักงานทุกคนต้องเตรียมไฟล์ข้อมูลไว้ให้พร้อม บุ๊กมาร์กหน้าสำคัญไว้ให้ครบ

พร้อมทั้งเก็บเบอร์ติดต่อไว้ในกรณี ฉุ ก เ ฉิ น ด้วย ส่วนสำหรับอุปกรณ์หรือเครื่องมือต่าง ๆ ก็ต้องวางเตรียมไว้ที่โต๊ะอย่าให้ขาด ทั้งสายชาร์จ หูฟัง สมุด ปากกา กระดาษ เพื่อช่วยให้มั่นใจได้ว่า จะไม่ต้องวุ่นวายตามหาทุกครั้งที่ต้องการใช้งานนั่นเอง

11. ทำให้เป็นมืออาชีพ

เมื่อมีโอกาสทำงานที่ บ้ า น เราควรทำตัวให้เป็นมืออาชีพ เพราะว่าการทำงานที่ บ้ า น ไม่ได้หมายความว่าสามารถทำงาน บ้ า น หรือทำกิจกรรมอย่างอื่นได้ ทว่าก็แน่นอนว่าเราไม่ควรจะติดอยู่กับงานยาวนานตลอด 8 ชั่ ว โมง ดังนั้นอาจจะแวบไปทำงาน บ้ า น เล็ก ๆ น้อย ๆ ได้ บ้ า ง แต่ไม่ใช่ทั้งวันจนส่งผลกระทบต่อการทำงาน

โดยมีเคล็ดลับที่น่าสนใจอยู่ว่า ให้เรากำหนดตารางเวลาที่เหมาะสม แล้วแบ่งเวลาช่วงพักเบรกสัก 5 นาที ไปจัดการงาน บ้ า น ง่าย ๆ เช่น นำผ้าที่จะซักใส่ถังหรือกรอกน้ำเตรียมไว้ดื่ม จากนั้นก็กลับมาทำงานต่อเหมือนเดิม เท่านี้ก็ช่วยให้แฮปปี้ขึ้นได้แล้วค่ะ

12. เป็นมิตรและคิดบวก

แน่นอนว่าคนส่วนใหญ่ชอบข้อความที่กระชับและชัดเจน แต่การทำงานที่ บ้ า น ซึ่งส่วนใหญ่จะแชตหรือพิมพ์คุยกัน ไม่ค่อยได้ยินเสียงกันเท่าไร สามารถทำให้อีกฝ่ายรู้สึกไม่ดีหรือเข้าใจผิดกับถ้อยคำห้วน ๆ ได้

ดังนั้นทางที่ดีผู้พิมพ์ควรใช้เทคนิคบางอย่างที่ทำให้ผู้ อ่ า น เข้าใจอารมณ์ ใช้อีโมจิหรือสติ๊กเกอร์ที่ช่วยให้ข้อความดูซอฟต์ลง และงดใช้เครื่องหมายตกใจ (!) โดยไม่จำเป็น อ้อ แล้วนอกเหนือจากจะเป็นผู้พิมพ์ที่เป็นมิตรแล้ว อย่าลืมคิดบวกเวลา อ่ า น ข้อความของคนอื่นด้วยล่ะ

13. อย่าเคร่ง เ ค รี ย ด มากเกินไป

เป็นที่รู้กันดีว่าการทำงานที่ บ้ า น ต้องมีวินัยมาก เพราะเจ้านายมองไม่เห็น จึงต้องมีผลงานรองรับ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็อย่าหนัก อย่า เ ค รี ย ด หรืออย่าหักโหมมากเกินไป จนถึงขั้นทำงานเลยเวลา ซึ่งเป็นพฤติกรรมที่พบได้บ่อยของคนทำงานที่ บ้ า น เนื่องจากไม่มีเพื่อนร่วมงานคอยเตือน หรือสัญญาณที่บอกว่าถึงเวลาเลิกแล้ว

จึงยากที่จะหยุดจนส่งผลให้กินเวลาชีวิต ยิ่งไปกว่านั้น บางครั้งการทำงานฝืนต่อเนื่องตลอดทั้งวัน ก็อาจจะทำให้งานไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ต้องรู้จักอนุโลมหรือผ่อนผัน บ้ า ง เช่น ลองเปลี่ยนความสนใจสักครู่ แล้วค่อยกลับมาทำงานต่อ หรือให้คิดแบบง่าย ๆ ว่า ทำตัวเหมือนทำงานที่ออฟฟิศนั่นเอง

14. เดินเล่นหรือออกจาก บ้ า น บ้ า ง

แม้ว่าสถานการณ์โคโรนาไวรัสจะยังน่ากลัว แต่ถึงอย่างไรก็ควรออกนอก บ้ า น บ้ า ง อ๊ะ ๆ ๆ ทว่าไม่ได้หมายความว่าให้ออกไปกินข้าวข้างนอกหรือไปเที่ยวตามสถานยอดฮิตเสียทีเดียว

แต่หมายถึงให้เดินเล่นใน บ้ า น หรือออกมาหน้า บ้ า น หรือพาสัตว์เลี้ยงเดินเล่นในสวนอย่างน้อยวันละครั้ง เพื่อให้ ร่ า ง ก า ย มีการเคลื่อนไหว ไม่อยู่นิ่ง และรู้สึกเบื่อ นอกจากนี้ยังทำให้ได้รับแสงแดด ซึ่งส่งผลให้ ร่ า ง ก า ย และจิตใจรู้สึกดีขึ้นได้อีกด้วย

15. สร้างกิจวัตรตอนเลิกงาน

นอกจากจะสร้างกิจวัตรบางอย่างเพื่อบอกว่าถึงเวลาเริ่มงานแล้ว เราต้องสร้างกิจวัตรบางอย่างเพื่อช่วยเตือนว่าถึงเวลาเลิกงานด้วย เพราะอย่างที่บอกว่าการทำงานที่ บ้ า น สามารถติดพันจนส่งผลให้เลิกงานได้ยาก

ฉะนั้นให้ลองมองหากิจวัตรหรือกิจกรรม เช่น การล็อกเอาต์จากเมล การเปลี่ยนเสื้อผ้า การทำ อ า ห า ร เย็น หรือการดูหนัง ฟังเพลง แล้วทำเป็นประจำสม่ำเสมอ เพื่อช่วยให้เป็นสัญญาณบอกว่า ถึงเวลาต้องหยุดทำงานแล้วนั่นเอง

16. ใช้ประโยชน์จากการทำงานที่ บ้ า น

ประโยชน์อย่างหนึ่งของการทำงานที่ บ้ า น คือ ช่วยให้มีเวลาในการใช้ชีวิตเพิ่มมากขึ้น ฉะนั้นในเมื่อโอกาสมาถึงแล้ว ขอแนะนำให้ใช้ประโยชน์จากมัน ลองทำกิจกรรมที่ชอบ ที่อยากทำ หรือกิจกรรมที่ทำไม่ได้เวลาทำงานปกติ เพราะว่าส่วนใหญ่หมดไปกับการเดินทาง เช่น ทำขนม ทำ อ า ห า ร วาดรูป ฝึกเล่นดนตรี หรือออกกำลังกาย เป็นต้น

17. อย่าลังเลในการขออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทำงาน

เพื่อให้การทำงานที่ บ้ า น มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น พนักงานทุกคนควรมีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่เหมาะสม ซึ่งตามหลักความเป็นจริงแล้วสามารถขอยืมข้าวของที่เคยใช้งานหรือที่มีอยู่ในบริษัทได้

ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ คีย์บอร์ด เ ม า ส์ โน้ตบุ๊ก โต๊ะ เก้าอี้ หรือซอฟต์แวร์ต่าง ๆ โดยเคล็ดลับในการขอยืมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานที่ดี

คือ ให้ลองทำงานที่ บ้ า น ดูก่อนสัก 2-3 วัน เพื่อพิจารณาว่าขาดอะไร หรือต้องการอะไร บ้ า ง จากนั้นค่อยดำเนินการขอ แล้วอย่าลืมถามถึงรายละเอียด เช่น ข้อมูลการขนย้าย ระยะเวลาการคืน รวมถึงเรื่องความเสียหายด้วย

ถ้าหากใคร Work From Home แล้วรู้สึกเบื่อ เหงา เ ค รี ย ด รวมถึงเกิดแรงเฉื่อยในการทำงาน ไม่กระตือรือร้นอย่างที่เคย ขอแนะนำให้นำเคล็ดลับเหล่านี้ไปปรับและปฏิบัติตาม รับรองจะช่วยให้คุณทำงานที่ บ้ า น ได้อย่างแฮปปี้และมีประสิทธิภาพมากขึ้นแน่นอน !

ที่มา : h o m e . k a p o o k

Load More Related Articles
Load More By adminjing
Load More In ข้อคิดสอนใจ

Check Also

8 วิธีทำให้คนนับถือคุณ หลักๆ อยู่ที่การวางตัว

ไม่ใช่แค่กลุ่มคนทำงาน แต่พวกเราทุกคนต่างต้องอยู่ในสังคมร่วมกับผู้อื่นไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ทุ…